หน้าแรก ITA แบบสอบถามความฯ Facebook Admin webmail   facebook   Line

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

 ๒. สภาพทางเศรษฐกิจ
๒.๑ อาชีพ 
     ประชากรในตำบลลำดวน ร้อยละ  ๙๐  ประกอบอาชีพเกษตรกรรม    และร้อยละ  ๑๐   ประกอบอาชีพอื่นๆ  เช่น   ค้าขาย   รับจ้าง    รับราชการ  ฯลฯ

๒.๒  หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล
-    โรงสีขนาดเล็ก                   27                แห่ง
-    ปั๊มน้ำมัน                           1                แห่ง
-    ฟาร์มสุกร                          3                แห่ง
-    ฟาร์มไก่                            1                แห่ง
-    ร้านซ่อมรถ                        4                แห่ง
-    ร้านเสริมสวย                      3                แห่ง
-    ร้านค้า                              144              แห่ง
-    ร้านอินเตอร์เน็ต                  6               แห่ง
-    ฟาร์มเลี้ยงนกกระทา           1               แห่ง
-    ฟาร์มเลี้ยงสัตว์  (โค)          1               แห่ง


๓.  สภาพสังคม

๓.๑  การศึกษา
-  โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย            1        แห่ง
-  โรงเรียนประถมศึกษา                         6       แห่ง
-  โรงเรียนขยายโอกาสการศึกษา            1        แห่ง
-  ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน                 5       แห่ง
-  ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน         -         แห่ง

๓.๒  ศาสนา
-    ผู้นับถือศาสนาพุทธ             จำนวน   11,515  คน     ร้อยละ  99.22
-    ผู้นับถือศาสนาคริสต์            จำนวน    26         คน     ร้อยละ  0.23
-    ผู้นับถือศาสนาอิสลาม          จำนวน     -          คน     ร้อยละ   -
-    จำนวนวัด / สำนักสงฆ์         จำนวน      7        แห่ง

๓.๓  สาธารณสุข
-   โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล              2       แห่ง
-   สถานพยาบาลเอกชน                                        2       แห่ง
-   อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ             ร้อยละ  100

๓.๔  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
-   สถานีตำรวจภูธรลำดวน                                      1๑         แห่ง 
     ตั้งอยู่ที่บ้านบุ   หมู่ที่ 11๑ ตำบลลำดวน อำเภอกระสัง  จังหวัดบุรีรัมย์

๔.  การบริการพื้นฐาน
๔.๑ การคมนาคม
          -   ถนนลาดยาง                     จำนวน           3        สาย
          -   ถนนคอนกรีต                    จำนวน           148       สาย
          -   ถนนดิน                           จำนวน            45       สาย
         -   ถนนลูกรัง/ หินคลุก              จำนวน          108      สาย
ถนนส่วนใหญ่เป็นถนนที่สร้างมานานแล้ว   ทำให้สภาพถนนส่วนใหญ่เกิดความเสียหายไปตามกาลเวลาทำให้การสัญจรไปมาไม่สะดวกเท่าที่ควร

๔.๒  การโทรคมนาคม
-

๔.๓  การไฟฟ้า
            ตำบลลำดวน   มีไฟฟ้าใช้ทุกหมู่บ้าน   แต่มีบางครัวเรือนที่ยังไม่ได้ใช้บริการไฟฟ้าเนื่องจากเป็นบ้านที่ตั้งขึ้นใหม่ในเขตที่ยังไม่มีการขยายเขตไฟฟ้า  คิดเป็นร้อยละของการใช้ไฟฟ้า ร้อยละ  ๙๕

๔.๔  การประปา
                       ตำบลลำดวนมีน้ำประปาบริการประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน ในรูปแบบประปาหมู่บ้านซึ่งยังต้องการการพัฒนาในด้านคุณภาพและปริมาณน้ำ   ให้มีปริมาณเพียงพอกับความต้องการใช้ในหมู่บ้านและมีความสะอาดจนสามารถดื่มได้ต่อไป
      

๕.  ลักษณะการใช้ที่ดิน


ลักษณะการใช้ที่ดินของราษฎรในเขตปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน  มีดังนี้
      -  พื้นที่พักอาศัย               จำนวน             ๑๐,๗๓๓   ไร่
      -  พื้นที่การเกษตร             จำนวน             ๓๕,๐๐๐   ไร่
      -  พื้นที่สาธารณะ              จำนวน               ๕,๘๐๐   ไร่
      -  พื้นที่อื่นๆ                    จำนวน             ๑๒,๘๙๓    ไร่
     

๖. ข้อมูลอื่น ๆ


๖.๑  มวลชนจัดตั้ง
-  กลุ่มอาสาพิทักษ์ป่า                               ๑    รุ่น           จำนวน     ๒๓๐    คน
-  กลุ่มเยาวชนหมู่บ้าน                              ๑๘  กลุ่ม         จำนวน     ๑๖๒    คน
-  คณะกรรมการพัฒนาสตรี                        ๑   กลุ่ม          จำนวน      ๓๖     คน
-  สมาชิกศูนย์ศิลปาชีพ                            ๑   กลุ่ม          จำนวน    ๑๕๖     คน
-  กองทุนหมู่บ้าน                                  ๑๘ กลุ่ม          จำนวน    ๑๖๒     คน
-  กลุ่มเกษตรกร                                   ๑   กลุ่ม          จำนวน      ๔๕     คน
-  กองทุนเศรษฐกิจชุมชน                         ๑๘ กลุ่ม
-  คณะกรรมการพัฒนาครอบครัวในชุมชน         ๑  กลุ่ม         จำนวน      ๒๒  คน
-  คณะกรรมการบริหารการดำเนินงานหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน          ๑๘  กลุ่ม
-  กองทุนสวัสดิการตำบลลำดวน                   ๑   กลุ่ม        จำนวน      ๑๒  คน
- กลุ่มอสม.                                         ๑๘  กลุ่ม
- กลุ่ม อปพร.ประจำตำบลลำดวน                  ๒   รุ่น         จำนวน     ๘๘  คน
 
 
 
๖.๒  สภาพปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบล                                                                                                                                                                                                                                                                                                                 

ชื่อปัญหา สภาพปัญหา
.ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
          -การใช้แหล่งสินเชื่อเพื่อการเกษตร
                                                                                                     
         -การอพยพหางานทำ                                      
                                                                           
         -การประกอบธุรกิจในหมู่บ้าน
                                                                                   
         -การทำการเกษตรฤดูแล้ง
                                                                                                                        
         -การประกอบอาชีพอื่นๆ
  
.ปัญหาด้านสังคม
        -ขาดสถานที่ให้ข่าวสารข้อมูล
   
        -การรวมกลุ่มของเกษตรกร
 
        -เยาวชนขาดความรู้เรื่องกีฬา
       
        -เยาวชนขาดระเบียบวินัย
 
 ๓.ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
        -การคมนาคม
 
 
 
        -การไฟฟ้า
    
 
 
 
        -การระบายน้ำ
 
-ปัญหาราษฎรไม่สามารถใช้เงินทุนจากแหล่งสินเชื่อ     
  ดอกเบี้ยต่ำทุกหมู่บ้าน                                                                                                           -ปัญหาราษฎรไม่มีรายได้เพราะว่างงานในช่วงหลัง
   ฤดูเก็บเกี่ยว                                                                                                             -ปัญหาราษฎรไม่มีความรู้ในด้านอาชีพหัตถกรรมใน
  ครัวเรือน                                                                                                                                              -ปัญหาราษฎรส่วนใหญ่ทำการเกษตรได้เฉพาะการ
  ทำนาเพียงอย่างเดียวปีละ ๑ ครั้งทุกหมู่บ้าน                                                                                                              -ปัญหาราษฎรไม่มีอาชีพอื่นเสริมจะประกอบอาชีพ
  การเกษตรอย่างเดียวเป็นส่วนใหญ่ทุกหมู่บ้าน
 
-ปัญหาการขาดสถานที่ให้ข่าวสารข้อมูลราษฎรภายใน
  หมู่บ้าน
 -ปัญหาราษฎรส่วนใหญ่ขาดการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม  
   ในการต่อรอง
  -เกิดจากการขาดสถานที่และอุปกรณ์การเล่นกีฬา
    ภายในหมู่บ้าน
   - เยาวชนขาดจิตสำนึกในการเป็นพลเมืองที่ดีของ สังคม
 
-ปัญหาถนนชำรุดทรุดโทรมเสื่อมสภาพในหมู่บ้าน
  ได้แก่ หมู่ที่ ๑-๑๘ รวม ๑๘ หมู่บ้าน
 -ปัญหามีถนนคอนกรีตเสริมเหล็กผ่านในหมู่บ้านไม่เพียงพอ  รวม ๑๘ หมู่บ้าน  
-  การขยายเขตไฟฟ้าแรงต่ำให้บริการไม่เพียงพอต่อการขยายตัวของชุมชนเนื่องจากอยู่ห่างจากเสาไฟฟ้าเกินกว่า  ๒๐  เมตร
-  ขาดโคมไฟส่องสว่างตามเสาไฟฟ้า  ถนนในหมู่บ้าน   หมู่ที่ ๑-๑๘ ยังไม่เพียงพอ
    -ขาดระบบการระบายน้ำภายในหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑-๑๘
 
 
 
 
 
ชื่อปัญหา สภาพปัญหา
      - ระบบผังเมือง
 
.ปัญหาด้านแหล่งน้ำ
     -น้ำสะอาดสำหรับดื่ม
     -น้ำประปา
 
     -น้ำเพื่อการเกษตร
 
.ปัญหาด้านสาธารณสุข
    - ไข้เลือดออก
 
 
    -สุขนิสัยและการอนามัยสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
    -โรคเรื้อรัง
 
    -การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพและการควบคุมที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
.ปัญหาด้านการเมือง การบริหาร
     -การใช้สิทธิเลือกตั้ง
 
.ปัญหาด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  -ระดับการศึกษาของประชาชน
 
   -การให้ความรู้ด้านคุณภาพชีวิต
 
.ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติ และ
     สิ่งแวดล้อม
  - ปัญหาป่าในพื้นที่สาธารณะถูกทำลาย
- ขาดการจัดระบบผังเมืองที่ดีในเรื่องต่างๆ เช่น การขุดดิน     ถมดิน การกั้นแนวเขตที่สาธารณะ ฯลฯ
 
-ปัญหาราษฎรขาดน้ำสะอาดสำหรับบริโภคในฤดูแล้ง
   -ไม่มีน้ำประปาใช้ในหมู่ที่ ๗,๑๓
  -ระบบการจ่ายน้ำประปาไม่ทั่วถึงในพื้นที่บางหมู่บ้าน
  -แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรไม่เพียงพอตลอดปีจำนวน ๑๘ หมู่
  -ขาดระบบการส่งน้ำไปยังพื้นที่ทำการเกษตรหมู่ที่ ๑-๑๘
 
  -อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านเกินกว่ามาตรฐานมี ความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  - พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบต่อเนื่องทุกปี
  -ราษฎรส่วนมากไม่สนใจในเรื่องสุขลักษณะในบ้านและการดูแลสภาพแวดล้อมบริเวณที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด
  - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูงของประชากรในพื้นที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  - ประชาชนยังขาดความร่วมมือในกระบวนการคิดวางแผน   การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพและการป้องกันควบคุมโรคในท้องถิ่น
 -ปัญหาราษฎรไม่ไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง
 -ราษฎรขาดความรู้ความเข้าใจในระบบการเลือกตั้งแบบใหม่  
 
 
 -ปัญหาประชาชนที่จบการศึกษาภาคบังคับขาดโอกาสการ
  เรียนต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาเนื่องจากความยากจน
  -ปัญหาราษฎรขาดโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดี
   ขึ้นกว่าเดิม
 
 
-ราษฎรบุกรุกตัดไม้มาใช้ประโยชน์ส่วนตัว
-ราษฎรได้บุกรุกถางป่าเป็นที่ทำกิน

         
 
 
. จุดเด่นของพื้นที่

๑.      พื้นที่ของตำบลลำดวน มีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ดินเป็นดินเหนียวปนทราย ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกและประชากรส่วนใหญ่ของตำบลลำดวน มีอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งจะเห็นได้ว่าถ้าหากมีการส่งเสริมการทำการเกษตร ทั้งในช่วงฤดูกาลและหลังฤดูการเก็บเกี่ยวอย่างจริงจัง ก็จะทำให้ประชากรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น หรือสามารถส่งออกจำหน่วยได้เพิ่มมากขึ้น
๒.      การส่งเสริมอาชีพเกษตรกรใช้พื้นที่การเกษตรหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวให้เกิดประโยชน์โดยการส่งเสริมให้ปลูกพืชผักสวนครัว ผลไม้ หรือพืชไร่ ซึ่งผลผลิตต้องเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคและตลาดเพื่อเป็นรายได้เสริมให้แก่เกษตรกร
๓.      พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลลำดวนมีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร หากมีการพัฒนาโดยการจัดระบบกลุ่ม ปรับปรุงรูปแบบการผลิต เพื่อให้ได้ปริมาณเพิ่มมากขึ้น มีคุณภาพดี และมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องก็จะเป็นโอกาสที่จะส่งเสริมรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น


๘. ศักยภาพในตำบล

๘.๑ ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน
 (๑)   จำนวนบุคลากร    จำนวน                        60      คน
     -    ตำแหน่งในสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล    32      คน
-     ตำแหน่งในส่วนการคลัง                             10     คน
-     ตำแหน่งในส่วนโยธา                                 10     คน
-     ตำแหน่งในส่วนการศึกษา  ศาสนา  วัฒนธรรมและสวัสดิการสังคม  8  คน
                             (๒) ระดับการศึกษาของบุคลากร
                             -    ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น                         -        คน
-          มัธยมศึกษา / อาชีวศึกษา                         17      คน     
-          อนุปริญญาตรี                                      -        คน
-          ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง                      6        คน
-          ปริญญาตรี                                          ๒5      คน
-          ปริญญาโท                                            12      คน
 
 
 
  
อัตรากำลังขององค์การบริหารส่วนตำบล (ปัจจุบัน )
 
 

 
ส่วน
อำนวยการ วิชาการ  
ครู
จำนวนลูกจ้าง  
รวม
 
ต้น
 
กลาง
 
สูง
ชำนาญการ ปฏิบัติการ ชำนาญงาน ปฏิบัติ  งาน ลูกจ้างประจำ พนักงานจ้างตามภารกิจ พนักงานจ้างทั่วไป
สำนักปลัด 2 1 2 2 1 1 2 6 14 32
คลัง 1 2 1 1 1 4 10
โยธา 1 1 5 3 10
ศึกษา 1 4 3 8
รวม 5 1 0 4 4 3 2 4 2 18 17 60

 
 
(๓)  รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน  ประจำปีงบประมาณ  ๒๕๕8 
                         ทั้งที่เป็นรายได้จากการที่องค์การบริหารส่วนตำบลลำดวนจัดเก็บเอง  รายได้จากรัฐบาลจัดเก็บให้  เงินอุดหนุนและเงินสะสม  ย้อนหลัง  ๓  ปี

สถิติรายรับจริงขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน  ปี ๒๕๕6 – ๒๕๕8
หมวด ปี 2558 ปี ๒๕๕7 ปี ๒๕๕6
๑.หมวดภาษีอากร
 
125,119.40 125,763.55 131,888.93
๒.หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต
 
176,.796.73 190,696.02 149,382.15
๓.หมวดรายได้จากทรัพย์สิน 505,305.14 355,041.97 318,166.85
๔.หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ 3,600.00 19,800.00 23,720
๕.หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด 910,750.80 1,255,351.63 305,349.08
๖.หมวดรายได้จากทุน
 
- - -
๗.หมวดเงินอุดหนุน
 
19,551,654 20,800,984.00 19,098,056.30
๘.ภาษีจัดสรร
 
20,741,741.24 19,092,614.15 22,222,555
๙.เงินสะสม 5,520,429.76 9,935,076.15 4,045.80
รวมรับทั้งสิ้น 47,534,997.07 51,775,327.47 42,253,164.11

 
 
 
 
 
(๔) รายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน
สถิติรายจ่ายจริงขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน  ปี ๒๕๕6 – ๒๕๕8
 

หมวด ปี  2558 ปี ๒๕๕7 ปี ๒๕๕6
๑.รายจ่ายงบกลาง
 
881,970.00 733,004.50 1,203,485
๒.หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
 
8,966,168.00 8,925,006.00 3,756,755
๓.หมวดค่าจ้างชั่วคราว
 
3,076,016.00 2,728,020.00 2,088,617
๔.หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
 
7,523,640.80 8,711,947.65 12,796,107.24
๕.หมวดค่าสาธารณูปโภค
 
672,659.94 1,052,332.38 1,236,339.82
๖.หมวดเงินอุดหนุน
 
5,600,531,71 7,273,798.56 6,340,610.77
๗.หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
 
9,043,489.84 10,261,141.00 7,318,827.50
๘.งบเฉพาะการกิจการประปา
 
- - -
๙.รายจ่ายจากเงินสะสม
 
6,278,000 1,013,500.00 1,577,340
๑๐.หมวดรายจ่ายอื่น
 
15,000 1,488,926.00 12,000
รวมจ่ายทั้งสิ้น 42,057,476.29 42,187,686.09 36,330,082.33